見出し画像

ラーマ5世(チュラーロンコーン タイ王国チャクリー王朝5代目国王)について調べてみたらやはりすごい人物だった

ラーマ5世(รัชกาลที่ ๕)とは

チュラチョームクラオ、ピヤマハーラート、チュラーロンコーンという名前でも呼ばれ、タイで最も古い歴史をもつチュラーロンコーン大学の名前にもなっている。
現在のタイ王国の国王はラーマ10世である。ラーマ5世とは現在の王朝であるチャクリー王朝の5代目国王であり、世界的にも評価が高く、私もタイ王国の歴史上最も偉大な功績を残した人物であると思う。この国王による劇的な近代化がなければ欧米列強に占領されていただろう。ちなみにタイの歴史の中で重要な国王である「タイ三大王」の一人である。(他二人はラームカムヘーン(スコータイ王朝)、ナレースワン(アユタヤ王朝))  

ラーマ5世の在位の期間や功績は日本の明治時代と非常によく似ている

ラーマ5世の在位
1868年10月1日~1910年10月23日
日本の明治時代
1868年~1912年

まさにほぼ一致している

ラーマ5世が行ったこと

チャクリー改革とよばれ、日本でいう明治維新時の近代化に似ている

以下ウィキペディアより
・奴隷制度の廃止
・各地の王を廃止して中央集権国家を作り上げた
・官僚制を導入し行政を効率化した
・議会制度の前身となる国政協議会と枢密院を設置した。学校教育を開始した。
・ラーチャダムヌン道路とその周辺を整備し、バンコクからナコーンラーチャシーマーまで列車を通した。
・電話業務を開始した。

となっている。まさに日本の明治時代の近代化を一人で成し遂げた偉大な国王といえる

当時のタイ周辺諸国への欧米列強の進出を抜粋してみる

○ビルマ(現ミャンマー)
ビルマとイギリスによる第一次英緬戦争が勃発したのが1824年~1826年、この時はまだ一部の領土を失っただけだったが、1852年の第二次英緬戦争によって国土の半分をイギリスへ奪われてしまう。その後1885年の第三次英緬戦争でついにイギリス領インドへ併合されてしまう。その後1948年に独立。

○ラオス
1770末頃からタイ王国の領土だったが、1893年にタイとフランスの間に仏泰戦争が勃発。圧倒的な戦力の前にタイは現在のラオスの領土の部分をフランスへ渡すこととなった。その後1949年に独立。

○カンボジア
1863年にフランスの保護領となり、1887年にフランスに占領された。その後1953年に完全独立を達成。しかしその後ポルポトによる政策によって国内は大混乱に陥っていくのは周知の事実である。

○マレーシア
1795年にマラッカを占領されてから徐々に国土を占領されていき、1874年にマレー半島はイギリス領マラヤとなる。1957年にマラヤ連邦として独立し、その後はシンガポールの分離独立などを経て現在のマレーシアへ

ざっとタイの周辺諸国の歴史についてみてみるとタイの西と南をイギリス、北と東をフランスに攻められていることがわかる。そして周辺国に共通しているのは近代化が遅れていたことだ。このことからもラーマ5世によるタイ王国近代化は非常に重要であったことがわかる。

時系列にしてみよう

1824年~1826年 第一次英緬戦争
1852年 第二次英緬戦争
1853年 ラーマ5世出生
1863年 カンボジアがフランスの保護領となる
1868年 ラーマ5世が国王になる
1874年 マレー半島がイギリス領マラヤとなる
1885年 第三次英緬戦争によりビルマ(現ミャンマー)全土がイギリス領インドへ併合される
1893年 仏泰戦争により領土の一部(現在のラオスの部分)をフランスへ奪われる
1910年 10月23日 57歳死去

まさに激動の時代である

10月23日はタイの祝日

ワン・ピヤマハラート (วันปิยมหาราช )といい、チュラロンコーン大王記念日として国民の祝日となっている

覚王山日泰寺(愛知県名古屋市)にはラーマ5世の像がある

1898年にインド北部で見つかった釈迦とその一族の遺骨(仏舎利)が当時インドを統治していたイギリスによって仏教国であるタイ(当時シャム)のラーマ5世に譲渡された。ラーマ5世はその一部を日本などの仏教国へ分与し、その際にこの遺骨を納めるために創設されたのが「覚王山日泰寺」である。そのためラーマ5世の像が境内に設置された。
このようなことからもラーマ5世が外交において非常に優れた手腕を持っていたことがわかる。

ラーマ5世を特集したタイ語の記事を読んでみる

(翻訳が正確ではないかもしれませんのでご注意願います 間違いのある個所がありましたらご指摘いただけると幸いです)

「ラーマ5世が行われたシャムを繁栄に導いた8つの重要な政策 」

พระราชกรณียกิจด้านการไปรษณีย์โทรเลขพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นการสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างมากต่อไปในอนาคต พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหมดำเนินการก่อสร้างวางสายโทรเลขสำหรับสายโทรเลขสายแรกของประเทศเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ.๒๔๑๘ จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ ระยะทาง ๔๕ กิโลเมตร และได้วางสายใต้น้ำต่อยาวออกไปจนถึงประภาคารที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยาสำหรับบอกข่าวเรือเข้า - ออก ต่อมาได้วางสายโทรเลขขึ้นอีกสายหนึ่งจากกรุงเทพฯ - บางปะอิน และขยายไปทั่วถึงในเวลาต่อมา

สำหรับกิจการไปรษณีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งการไปรษณีย์ขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๒๔ มีที่ทำการเรียกว่าไปรษณียาคาร ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และเปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการครั้งแรกในวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๒๖ หลังจากนั้นจึงโปรดเกล้าฯ ให้กรมโทรเลขรวมเข้ากับกรมไปรษณีย์ชื่อว่า กรมไปรษณีย์โทรเลข

①郵便電信事業

ラーマ5世は将来通信伝達が非常に重要で必要なものになるとお考えになられた。国民のために防衛省へ最初の電信線の建設を仏歴2418年(西暦1875年)にバンコクーサムットプラーカーン間45kmの間にスタートさせた。また、船の出入を知らせるためにチャオプラヤー側河口の灯台まで水中に電信線を引いた。またその後バンコクーバーンパイン間にも電信線を引き、その後順次拡大していった。

郵便事業についてラーマ5世は仏歴2424年(西暦1881年)7月2日に最初の郵便局を設置した。チャオプラヤー川沿いに置かれ、仏歴2426年(西暦1883年)8月4日から業務をスタートした。その後電信局は郵便局と合併し、郵便電信局となった。

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ラーマ5世

โปรดเกล้าฯ 国王より国民へ慈悲心を表す(国民のためを思うというニュアンスだろう)

กระทรวงกลาโหม 防衛省

ประภาคาร 灯台

② พระราชกรณียกิจด้านการโทรศัพท์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล และพระปรีชาสามารถอย่างมากในการพัฒนาประเทศ โดยกระทรวงกลาโหมได้นำโทรศัพท์อันเป็นวิทยาการในการสื่อสารที่ทันสมัยเข้ามาทดลองใช้เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ เพื่อแจ้งข่าวเรือเข้า - ออกที่ปากน้ำ

ต่อมากรมโทรเลขได้มารับช่วงต่อในการวางสายโทรศัพท์ภายในกรุงเทพฯ ซึ่งใช้เวลา ๓ ปีจึงแล้วเสร็จพร้อมเปิดให้บริการกับประชาชน และพัฒนามาจนกระทั่งทุกวันนี้

②電話事業

ラーマ5世は大きな発展の構想をお持ちであった。そして国内発展に対して大変聡明であった。仏歴2424年(西暦1879年)防衛省によって先進的な通信の技術である電話がバンコクーサムットプラーカーン間に初めて持ち込まれた。パークナム(バンコク南部にあるタイ湾付近の港町)からの船の出入りの連絡のためである。

その後電信局がバンコク内の電話線を引き継ぎ、その後3年をかけて国民へサービスを開始する準備が整った。そして今日に至るまで発展を続けている。

วิสัยทัศน์ ヴィジョン 展望 構想

ปรีชาสามารถ 賢い 聡明な

วิทยาการ 学会 アカデミア 

ทดลอง 実験する 試験する

รับช่วง 引き継ぐ(仕事)

พระราชกรณียกิจด้านการพยาบาลและสาธารณสุข

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริที่จะสร้างโรงพยาบาลเพื่อรักษาประชาชนด้วยวิธีการแพทย์แผนใหม่ เนื่องจากการรักษาแบบเดิมนั้นล้าสมัย ไม่สามารถช่วยคนได้อย่างทันท่วงทีทำให้มีผู้เสียชีวิตมากมายเมื่อเกิดโรคระบาด พระองค์จึงทรงจัดสร้างโรงพยาบาลขึ้นบริเวณริมคลองบางกอกน้อย อันเป็นที่ตั้งของพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือวังหลัง

③医療と公衆衛生

ラーマ5世は新しい医学によって人々を治療するための病院を建設する事をお考えになられた。なぜならそれまでの治療方法は時代遅れだったためである。病気が蔓延した時に多くの人が死んでしまい助けることができなかった。そのため国王はバンコクノイ運河沿いに病院を建設された。それはブワンサターンピムック宮殿(ワンラン)の中に建てられた。

โดยได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จำนวน ๑๖,๐๐๐ บาท เป็นทุนเริ่มแรกในการสร้างโรงพยาบาล ให้ใช้ชื่อว่า โรงพยาบาลวังหลัง เปิดทำการรักษาแก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑

国王の財産16000バーツを最初の病院建設のためにお与えになり、ワンラン病院と名付けた。仏歴2431年(西暦1888年)4月26日に一般の国民のために開かれた。

ต่อมาพระองค์ได้พระราชทานนามโรงพยาบาลแห่งนี้ใหม่ว่าโรงพยาบาลศิริราช เพื่อเป็นการระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ พระราชโอรสที่ประสูติในสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ ที่สิ้นพระชนมายุเพียง ๑ ปี ๗ เดือน

その後国王はこの病院を新しくシリラート病院と名付けた。サオパワー・ポーンシー女王陛下との息子であり、1年7ヶ月で亡くなられたシリラート王子(สมเด็จพระนางเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ 称号・略し方が間違っていたらすいません)を偲ぶためである。

ทั้งยังได้พระราชทานพระเมรุ พร้อมกับเครื่องใช้ เช่น เตียง เก้าอี้ ตู้โต๊ะ ฯลฯ ในงานพระศพให้กับโรงพยาบาลเพื่อใช้ประโยชน์ รวมทั้งพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ จำนวน ๕๖,๐๐๐ บาท ให้กับโรงพยาบาลเป็นทุนในการใช้จ่าย

また、病院での葬儀で使用するための火葬場と器具、例えばベッド、椅子、机、棚をお与えになった。シリラート王子の財産56000バーツも病院の費用に当てられた。

พระราชดำริ 王のお考え

ล้าสมัย 時代遅れの

ทันท่วงที タイムリーな ちょうど

พระราชวัง 王宮

พระราชทาน お与えになる(ให้ の王語)

พระราชโอรส 息子(王語)

ประสูติ お生まれになる

พระราชกรณียกิจด้านการขนส่งและสื่อสาร

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้คณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการสำรวจเส้นทาง เพื่อวางรากฐานการสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ มีการวางแผนให้ทางรถไฟสายนี้ตัดเข้าเมืองใหญ่ๆ ในบริเวณภาคกลางของประเทศแล้วแยกเป็นชุมสายตัดเข้าสู่จังหวัดใหญ่ทางแถบภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากเป็นหัวลำโพงเมืองที่เป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้า

การสำรวจเส้นทางในการวางเส้นทางรถไฟนี้เสร็จสิ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๔ และในวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินขุดดินก่อพระฤกษ์ เพื่อสร้างทางรถไฟครั้งแรกที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยโปรดเกล้า ฯ ให้ทางรถไฟสายนี้เป็นรถไฟหลวงแห่งแรกของไทย

④輸送と通信事業

仏歴2431年(西暦1888年)ラーマ5世は建設・都市計画局(คณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการ 現在の内務省にある建設・都市計画局の前身かと思われますが違っていたらすいません)に路線調査をさせた。バンコクーチェンマイ間の鉄道建設のための基礎を築くためである。この鉄道線は都市間を結ぶ計画があり、国内中部から路線が枝分かれし東北部の地域の大きな県と結ぶ。なぜならフアラムポーンはビジネスと貿易の中心だからである。(この辺訳が難しく微妙になっていてすいません)

この鉄道を敷くための調査は仏歴2434年(西暦1891年)に終了し、同年3月9日ラーマ5世は吉日に掘削を指示された。タイで最初の鉄道を建設するためである。(ラーマ5世は)タイで最初の主要な線路を作られた。

พระฤกษ์ 吉日、縁起のいい時間

⑤ พระราชกรณียกิจด้านการไฟฟ้า

ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นว่าไฟฟ้าเป็นพลังงานที่สำคัญและมีประโยชน์อย่างมาก เมื่อมีโอกาสประพาสต่างประเทศ ได้ทอดพระเนตรกิจการไฟฟ้า และทรงเห็นถึงประโยชน์มหาศาลที่จะเกิดจากการมีไฟฟ้า พระองค์จึงทรงมอบหมายให้กรมหมื่นไวยวรนารถเป็นผู้ริเริ่มในการจ่ายกระแสไฟฟ้าขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ ซึ่งเป็นการเปิดใช้ไฟฟ้าครั้งแรกของไทย

⑤電力事業

先見の明をお持ちであったラーマ5世は電力が重要で有益なエネルギーになるとお考えになられた。海外へ旅行された際に電力事業をご覧になられ、電力がもたらす大きな有益性を感じられた。そのため国王はワイウォンナーロット局(กรมหมื่นไวยวรนารถ 電気事業を担当した当時の政府の部署でしょうか?タイに最初に電力をもたらしたとされる人がเจ้าหมื่นไวยวรนารถという称号をもっていたとされる記事があったので称号を冠した局の名前かと思われます)を仏歴2433年(西暦1890年)に最初の電力供給事業を始めるために任命した。これはタイで最初の電気使用開始となった。

และปีเดียวกัน (พ.ศ. ๒๔๓๓) มีการก่อตั้งโรงไฟฟ้าที่วัดเลียบ หรือวัดราชบูรณะ จนกระทั่งถึงพ.ศ. ๒๔๓๖ ต่อมาเพื่อให้กิจการไฟฟ้าก้าวหน้ายิ่งขึ้น รัฐบาลได้โอนกิจการให้ผู้ชำนาญด้านนี้ ได้แก่ บริษัทอเมริกัน ชื่อ แบงค็อค อิเลคตริกซิตี้ ซิดิแคท เข้ามาดำเนินงานต่อ และในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ บริษัทเดนมาร์กได้เข้ามาตั้งโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ในการเดินรถรางที่บริษัทได้รับสัมปทานการเดินรถในเขตพระนคร ต่อมาบริษัทต่างชาติทั้ง ๒ บริษัทได้ร่วมกันรับช่วงงานจากกรมหมื่นไวยวรนาถ และก่อตั้งเป็นบริษัทไฟฟ้าสยาม ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ นับเป็นการบุกเบิกไฟฟ้าครั้งสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย ในการเริ่มมีไฟฟ้าใช้เป็นครั้งแรก

そして同年(仏歴2433年)ワットリアップまたはワットラーチャブーラナに発電所を建設した。仏歴2436年まで電気事業を発展させた。政府はこの事業を熟練者へ譲渡した。例えばアメリカの会社「バンコク・エレクトリックシティ・シディキャット」は事業を引き継いだ。そして仏歴2437年デンマークの会社がプラナコーン地区で認可を受けた路面電車の運行のために発電所を建設した。その後二つの外国の会社は共同でワイウォンナーロット局(กรมหมื่นไวยวรนารถ)から事業を引き継ぎ、仏歴2444年にシャム電力会社を設立しタイでの重要な電気事業の始まりとなった。これが最初の始まりである。

ประพาส 旅行される(王語)

มอบหมาย 任せる 任命する

โอน 渡す 譲渡する 振り込む

ชำนาญ 熟練した 経験のある スキルの高い

สัมปทาน 認可

พระราชกรณียกิจด้านการกฎหมาย

กฎหมายในขณะนั้นมีความล้าสมัยอย่างมาก เนื่องจากใช้มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ และยังไม่เคยมีการชำระขึ้นใหม่ให้เหมาะสมกับยุคสมัย ทำให้ต่างชาติใช้เป็นข้ออ้างในการเอาเปรียบไทยเรื่องการทำสนธิสัญญาเกี่ยวกับการขึ้นศาลตัดสินคดีที่ไม่ให้ชาวต่างชาติขึ้นศาลไทย โดยตั้งศาลกงสุลพิจารณาคดีคนในบังคับต่างชาติเอง แม้ว่าจะมีคดีความกับชาวไทยก็ตาม

⑥法律関係

当時の法律は時代遅れであった。なぜならラーマ1世の時代から使われていて、時代に合わせて新しく洗練されてはいなかったため、外国が条約を利用し、外国人による法定への出頭をさせずに判決を決めた。領事裁判所を建てて外国人の事件審議が行われた。たとえタイ人がかかわっていたとしてもである。

ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงโปรดเกล้าฯ สร้างประมวลกฎหมายอาญาขึ้นใหม่เพื่อให้ทันสมัยทัดเทียมกับอารประเทศ ในปี พ.ศ.๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงเรียนกฎหมายแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อเป็นสถานที่สำคัญที่ผลิตนักกฎหมายที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาประเทศ

そのためラーマ5世は最新で先進国と同等になるために刑法を新しく改変された。仏歴2440年(西暦1897年)ラーマ5世はタイで最初の法律学校を設立された。タイを発展させる能力のある法律家を育成する重要な場所にするためである。

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ตรากฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗ อันเป็นลักษณะกฎหมายอาญาฉบับแรกที่นำขึ้นมาใช้ อีกทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้มีการตั้งกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง พิจารณาทำกฎหมายประมวลอาญาแผ่นดินและการพาณิชย์ ประมวลกฎหมายว่าด้วยพิจารณาความแพ่ง และพระธรรมนูญแห่งศาลยุติธรรม

次いで仏歴2451年(西暦1908年)ラーマ5世は刑法を制定された。127年(รัตนโกสินทร์ศกの略 チャクリー王朝ラッタナコーシン暦)これは最初に発行された刑法となる。また、審議会をお作りになられた。刑法及び商法計画の制定検討を行うい、同時に民法及び憲法による司法裁判所の検討を行った。(すいません文章が難しく間違っている可能性があります)

แต่ยังไม่ทันสำเร็จดีก็สิ้นรัชกาลเสียก่อน เมื่อสร้างประมวลกฎหมายขึ้นมาใช้แล้ว บทลงโทษแบบจารีตดั้งเดิมจึงถูกยกเลิกไปโดยสิ้นเชิงในรัชกาลของพระองค์เอง เพราะมีกฎหมายใหม่เป็นบทลงโทษ ที่เป็นหลักการพิจารณาที่ดีและทันสมัยกว่าเดิมด้วย

しかし国王がお亡くなりになるまでに間に合わなかった。法律制定に際し刑罰の昔からの伝統・習慣は国王により完全に廃止された。なぜなら刑罰の新しい法律はよりよく先進的な考えによるものになったからである。

ข้ออ้าง 言い訳 主張 弁明 説明

เอาเปรียบ 利用する 乗ずる

สนธิสัญญา 条約

ศาลกงสุล 領事裁判所

จารีต 伝統 習慣 しきたり

สิ้นเชิง すっかり 完全に

พระราชกรณียกิจด้านการเปลี่ยนแปลงระบบเงินตรา

ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้ทำธนบัตรขึ้นเรียกว่า อัฐ เป็นกระดาษมีมูลค่าเท่ากับเหรียญทองแดง ๑ อัฐ แต่ใช้ได้เพียง ๑ ปีก็เลิกไป เพราะประชาชนไม่นิยมใช้ ต่อมาทรงตั้งกรมธนบัตรขึ้นมา เพื่อจัดทำเป็นตั๋วสัญญาขึ้นใช้แทนเงินกรมธนบัตรได้เริ่มใช้ตั๋วสัญญาเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๕ เป็นครั้งแรก เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

⑦通貨制度の変更

仏歴2417年(西暦1874年)ラーマ5世は紙幣を「アット」呼ぶことになさり、銅貨1アットと同等とした。しかし使用できたのは1年のみで廃止された。なぜなら国民は好まなかったためである。その後造幣局をお作りになられた。仏歴2445年(西暦1902年)9月19日のラーマ5世の国王誕生慶祝日に最初の通貨に変わる約束手形発行のためである。


ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ได้มีการผลิตธนบัตรรุ่นแรกออกมา ๕ ชนิด คือ ๑,๐๐๐ บาท ๑๐๐ บาท ๒๐ บาท ๑๐ บาท ๕ บาท ภายหลังมีธนบัตรใบละ ๑ บาทออกมาด้วย รวมถึงพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้กำหนดหน่วยเงินตรา โดยให้หน่วยทศนิยมเรียกว่า สตางค์ กำหนดให้ ๑๐๐ สตางค์ เท่ากับ ๑ บาท พร้อมกับผลิตเหรียญสตางค์ขึ้นมาใช้เป็นครั้งแรกเรียกว่าเบี้ยสตางค์ มีอยู่ด้วยกัน ๔ ชนิด คือ ราคา ๒๐ สตางค์ ๑๐ สตางค์ ๔ สตางค์ ๒ สตางค์ครึ่ง ใช้ปนกับเหรียญเสี้ยว และอัฐ

仏歴2441年(西暦1898年)には初代1000バーツ、100バーツ、20バーツ、10バーツ、5バーツの5種類の紙幣が製造された。その後1バーツ紙幣も発行された。また、国王はサタンと呼ばれる少数の通貨単位を制定された。
100サタンは1バーツと同等とし、「ビアサターン」と呼ばれる最初の硬貨が製造された。4種類あり、20サタン、10サタン、4サタン、2.5サタン。サタンコイン(เหรียญเสี้ยว サタンコインのことだと思いますが、間違ってたらすいません)とアットコインが併用された。

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงออกประกาศยกเลิกใช้เงินพดด้วงและทรงออกพระราชบัญญัติมาตราทองคำ ร.ศ.๑๒๗ ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๑ ว่าด้วยเรื่องให้ใช้แร่ทองคำเป็นมาตรฐานเงินตราแทนแร่เงิน เพื่อให้เสถียรภาพเงินตราของไทยสอดคล้องกับหลักสากล และในปีต่อมาทรงออกประกาศเลิกใช้เหรียญเฟื้อง และเบี้ยทองแดง

その後仏歴2451年(西暦1908年)ラーマ5世はグンポットドゥアン(เงินพดด้วง 旧硬貨の名称)の使用と、127年(チャクリー王朝ラッタナコーシン暦)金についての制度を発表され、仏歴2451年(西暦1908年)11月11日、タイの貨幣制度を世界標準に合わせるため、銀貨の代わりに使用する貨幣について発表された。翌年にはフアン硬貨、ビアトーンデーン硬貨の廃止を発表された。

วโรกาส 機会

หน่วยเงินตรา 通貨単位

ทศนิยม 少数

พระราชบัญญัติ 国王が承認した法律

ทองคำ 金 ゴールド

เสถียรภาพ 安定、安定性

สอดคล้อง 釣り合う 調和する 対応する 適切である

⑧พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยในการศึกษารูปแบบใหม่โดยโปรดเกล้าฯ ให้มีการตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษาทั่วกัน เพราะการศึกษาสมัยนั้นส่วนใหญ่ยังศึกษาอยู่ในวัด เมื่อมีการสร้างโรงเรียนและการศึกษาเจริญก้าวหน้าขึ้นเท่ากับเป็นการบ่งบอกถึงความเจริญทางด้านวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงเรียนหลวงแห่งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๔

⑧教育制度

ラーマ5世は新しいスタイルの教育制度についてご関心をお持ちであり、国民が揃って学習を受けることができる学校建設について関心をお持ちであった。なぜなら当時の多くの教育はお寺での学習であったためである。学校の建設と、先進的な教育は一つの文化的な発展を示すものである。そのため仏歴2444年(西暦1901年)最初の王立学校を建設された。

และ โปรดเกล้าฯ ให้มีการสอบไล่สามัญศึกษาขึ้นอีกด้วย เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา นอกจากนี้พระองค์ยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างโรงเรียนหลวงขึ้นอีกหลายแห่ง กระจัดกระจายไปตามวัดต่าง ๆ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โรงเรียนหลวงแห่งแรกที่สร้างขึ้นในวัด คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม โรงเรียนหลวงที่ตั้งขึ้นมานี้เพื่อให้บุตรหลานของประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้กัน

また、学習度合いを図るための一般試験を導入された。このほか国王は他にもいくつかの王立学校を建設され、それは中部及び地方の寺院に広がった。寺院内に建てられた最初の王立学校はワット・マハンパーラーム王立学校で、国民の子孫へ学習の機会をもたらすために建てられた。

การศึกษาขยายตัวเจริญขึ้นตามลำดับด้วยความสนใจของประชาชนที่ต้องการมีความรู้มากขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ ให้โอนโรงเรียนเหล่านี้อยู่ภายใต้การควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ มีการพิมพ์ตำราพระราชทาน เพื่อเป็นตำราในการเรียนการสอนด้วย

教育は知識を深める国民によって順次発展し拡大していく。そのためこれら学校を教育省管轄へ移し、教科書を発行された。学ぶ教えるための教科書にするためである。

สนพระทัย สนใจの王語と思われます

บุตรหลาน 子孫

ตำรา 教科書

翻訳に関しては私力不足で間違っている部分もあるかもしれませんのでご了承ください。

終わりに
調べてみて感じたこと

以上が、ラーマ5世について調べてみた結果です。

世界的にみても非常に有能なことは言うまでもありませんね。タイ料理屋に行くとよくラーマ5世の肖像画が飾っているのも納得です。

以上で今回の記事は終わりです
ありがとうございました

いいなと思ったら応援しよう!